มาตรฐานตัวชี้วัด




มาตรฐานตัวชี้วัดวิชา ค22101 คณิตศาสตร์ 1

บทที่

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

ความรู้

ทักษะ

คุณ

ลักษณะ

ระหว่างภาค

ปลายภาค

1

อัตราส่วนและร้อยละ

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง

 

ม2/4. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน  สัดส่วน และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา 

 

28

18

9

22

8

2  การวัด

มาตรฐาน ค 2.1เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด

ม2/1 เปรียบเทียบหน่วยความยาว  หน่วยพื้นที่  ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ  และเลือกใช้หน่วย

6

3

2

10

3

 

 

ม2/2 คาดคะเนเวลา  ระยะทางพื้นที่  ปริมาตรและน้ำหนักได้อย่างใกล้เคียงและอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน การวัดได้อย่างเหมาะสม

4

3

1

4

3

 

 

ม2/3 ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

4

3

1

4

3

 

มาตรฐาน ค 2.2แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

 

ม2/1 ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ  

4

3

2

8

3

แผนภูมิรูปวงกลม

มาตรฐาน ค 5.1เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

 

ม2/1 อ่านและนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม

 

8

6

3

12

4

 

 

บทที่

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

ความรู้

ทักษะ

คุณ

ลักษณะ

ระหว่างภาค

ปลายภาค

การแปลงทาง

เรขาคณิต

มาตรฐาน ค 3.2ใช้การนึกภาพ (visualization)  ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)  และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา

ม2/3  เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตในเรื่อง การเลื่อนขนาน  การสะท้อนและการหมุนและนำไปใช้

 

6

4

2

-

6

 

 

ม2/4 บอกภาพที่เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน    การสะท้อนและการหมุนรูปต้นแบบ  และอธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่ปรากฏเมื่อกำหนดรูปต้นแบบและภาพนั้นให้  

6

4

2

-

8

 

มาตรฐาน ค4.2 ใช้นิพจน์สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical  model)อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา

 

ม2/2 หาพิกัดของจุด และอธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉาก

6

4

2

-

6

5

ความเท่ากันทุกประการ

มาตรฐาน ค 3.2ใช้การนึกภาพ (visualization)  ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)  และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา

ม2/1 ใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเส้นขนานในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา

18

12

6

-

24

 

 

รวม

90

60

30

60

60