โครงการสอน

 

หลักสูตร

พุทธศักราช 2551

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

วิชา ส22101 สังคมศึกษา

ภาคเรียนที่ 1     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนพิมายวิทยา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

วิชา ส22101 สังคมศึกษา     ภาคเรียนที่ 1     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สาระที่ 1  ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน  ส 1.1  รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา

                             หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น  มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตาม   

                             หลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา                    หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ

เพื่อนบ้าน  

w   การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน

2. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธ- ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ                        ที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี                         กับประเทศเพื่อนบ้าน

w   ความสำคัญของพระพุทธศาสนา                        ที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี                              กับประเทศเพื่อนบ้าน

 

3. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ

  • ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็น

w   รากฐานของวัฒนธรรม

w   เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ

4. อภิปรายความสำคัญของพระพุทธ -ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับ            การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม

w   ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ           การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม

5. วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ                         ตามที่กำหนด

 

w   สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ

™       การผจญมาร

™       การตรัสรู้

™       การสั่งสอน

6. วิเคราะห์และประพฤติตน                           ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า                         และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด

 

w   พระสารีบุตร

w   พระโมคคัลลานะ

w   นางขุชชุตตรา

w   พระเจ้าพิมพิสาร

w   มิตตวินทุกชาดก

w   ราโชวาทชาดก

สาระที่ 2   หน้าที่พลเมือง  วัฒนธรรม  และการดำเนินชีวิตในสังคม­

มาตรฐาน ส 2.1  เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี  มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง

                            รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก 

                                 อย่างสันติสุข

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมาย

ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน

และประเทศ

 

w   กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว เช่น

       -  กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์  

-  กฎหมายบัตรประจำตัวประชาชน

-  กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก เช่น การหมั้น การสมรส   การรับรองบุตร  การรับบุตรบุญธรรม  และมรดก

w  กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและประเทศ

 - กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และกรอกแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

- กฎหมายแรงงาน

2. เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

w    สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่               ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

w    แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

3. วิเคราะห์บทบาท  ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม

w   บทบาท  ความสำคัญและความสัมพันธ์                   ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันทางการเมือง                 การปกครอง

 

 

 

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

 

4. อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย  เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

w   ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง                           ของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรม                      ของประเทศในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม          เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

 

มาตรฐาน  ส 2.2  เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน  ยึดมั่น ศรัทธา

                             และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์

                             ทรงเป็นประมุข

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.2

1. อธิบายกระบวนการในการตรากฎหมาย

 

w     กระบวนการในการตรากฎหมาย

-        ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย

-        ขั้นตอนการตรากฎหมาย

-        การมีส่วนร่วมของประชาชน

              ในกระบวนการตรากฎหมาย

2. วิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทางการเมือง          การปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

w     เหตุการณ์ และการเปลี่ยนแปลงสำคัญ                     ของระบอบการปกครองของไทย

w     หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสาร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สาระที่ 5  ภูมิศาสตร์                                                                                                                                              

มาตรฐาน ส 5.1  เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ  และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง

                               ซึ่งมีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ  ใช้แผนที่และเครื่องมือ

                            ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์  สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ                         

                            อย่างมีประสิทธิภาพ

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

.2

1. ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรป และแอฟริกา    

w    เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะ               ทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรป                     และแอฟริกา

2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา      

w ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรฐาน ส 5.2  เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด

                            การสร้างสรรค์วัฒนธรรม  มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร                        

                            และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

.2

1. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่              ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรป และแอฟริกา 

w   การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรปและแอฟริกา

2. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม         ในทวีปยุโรป และแอฟริกา

w   การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริกา

 

3. สำรวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรป                        และแอฟริกา 

w   ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรป และแอฟริกา 

4. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริกา

w   ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริกา
ต่อประเทศไทย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง 

วิชา ส22101 สังคมศึกษา     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2    

ภาคเรียนที่ 1     เวลา  60  ชั่วโมง     จำนวน  1.5  หน่วยกิต       

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เวลา

สาระที่ 1  ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1  รู้และเข้าใจประวัติ  ความสำคัญ  ศาสดา  หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น  มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่กันอย่างสันติสุข

1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ                เพื่อนบ้าน

• การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน

6

2. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธ

ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ                 ที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี                  กับประเทศเพื่อนบ้าน

• ความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน

2

3. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา                        ที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐาน                 ของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติ                  และมรดกของชาติ

• ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็น

    - รากฐานของวัฒนธรรม

    - เอกลักษณ์และมรดกของชาติ

2

4. อธิบายความสำคัญของพระพุทธ

ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ                กับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม

• ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชน                                           และการจัดระเบียบสังคม

2

5. วิเคราะห์พุทธประวัติหรือ                          ประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ                          ตามที่กำหนด

• สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ

     - การผจญมาร                                   

     - การตรัสรู้

     - การสั่งสอน

8

 

 

 

 

 

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เวลา

6. วิเคราะห์และประพฤติตน                          ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต                           และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก                    เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง                            ตามที่กำหนด

• พุทธสาวก พุทธสาวิกา

• ชาดก

• ศาสนิกชนตัวอย่าง

   

 

8

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เวลา

สาระที่ 2  หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.1  เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

1. อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมาย            ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว                  ชุมชนและประเทศ

• กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองครอบครัว เช่น

    - กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์

    - กฎหมายบัตรประจำตัวประชาชน

    - กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว เช่น                       การหมั้น การสมรส การรับรองบุตร

การรับบุตรบุญธรรม

• กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและประเทศโดยสังเขป

    - กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ

    - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และเน้น                     การกรอกแบบแสดงรายการภาษีเงินได้                     บุคคลธรรมดา

    - กฎหมายแรงงาน กฎหมายปกครอง

6

2. เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

• สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าที่                     ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

• แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

2

3. วิเคราะห์บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม

• บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์                 ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันทางการเมืองการปกครอง

2

4. อธิบายความคล้ายคลึงและ                       ความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

• ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง                              ของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรม ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยสำคัญ            ในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

1

 

 

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เวลา

มาตรฐาน ส 2.2  เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1. อธิบายกระบวนการ                                     ในการตรากฎหมาย

• กระบวนการในการตรากฎหมาย

    - ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย                   

    - ขั้นตอนการตรากฎหมาย

    - การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ   ตรากฎหมาย

2

2. วิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทางการเมือง การปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

• เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญ                       ของระบอบการปกครองของไทย

• หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสารมาวิเคราะห์

1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เวลา

สาระที่ 5  ภูมิศาสตร์

มาตรฐาน ส 5.1  เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ  และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป    และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

1. ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา

• เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะ               ทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรป                     และแอฟริกา

2

2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคม                          ของทวีปยุโรปและแอฟริกา

• ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา

8

มาตรฐาน ส 5.2  เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด                            การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม                        เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

1. วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจาก                                    การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ                     ทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา

• การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรปและแอฟริกา

2

2. ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม               ในทวีปยุโรปและแอฟริกา

• การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา

2

3. สำรวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น                ในทวีปยุโรปและแอฟริกา

• ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น                    ในทวีปยุโรปและแอฟริกา

2

4. วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลง                         ของสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป                             และแอฟริกา

• ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา                                    ต่อประเทศไทย               

2

 

 

โครงสร้างรายวิชา

วิชา ส22101 สังคมศึกษา     ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   

ภาคเรียนที่ 1     เวลา  60  ชั่วโมง     จำนวน  1.5  หน่วยกิต

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 

ลำดับที่

 

ชื่อหน่วย

มาตรฐาน                 การเรียนรู้/ตัวชี้วัด

 

สาระสำคัญ

เวลา

(ชั่วโมง)

น้ำหนักคะแนน

1

ความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ส 1.1 

ม.2/1,2/2

2/3,2/4

• การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน

• การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อบ้าน            

ในปัจจุบัน

• ความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยส่งเสริมความเข้าใจ

อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน

• ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคม                                ไทยในฐานะเป็นรากฐานของ                   

วัฒนธรรมและเอกลักษณ์

มรดกของชาติ

• ความสำคัญของพระพุทธศาสนา                                กับการพัฒนาชุมชน

 และการจัดระเบียบสังคม

10

10

2

พระพุทธ

ส 1.1 

ม.2/5

• สรุปและวิเคราะห์                        พุทธประวัติ

8

10

 

 

 

 

ลำดับที่

 

ชื่อหน่วย

มาตรฐาน                 การเรียนรู้/ตัวชี้วัด

 

สาระสำคัญ

เวลา

(ชั่วโมง)

น้ำหนักคะแนน

3

พระสงฆ์

ส 1.1 

ม.2/6

• พุทธสาวก

• ชาดก

• ศาสนิกชนตัวอย่าง

10

15

4

กฎหมายน่ารู้

ส 2.1 

ม.2/1,2/2

2/3,2/4

• กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองครอบครัว

• กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองครอบครัว

• สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าที่พลเมืองดี

• ความสำคัญ ความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม

10

10

5

การเมือง                          การปกครอง

ส 2.2 

ม.2/1,2/2

• กระบวนการ                                ในการตรากฎหมาย

• เหตุการณ์                                       และการเปลี่ยนแปลง                  การปกครองไทย

4

5

6

โลกน่ารู้

ส 5.1  ม.2/1,2/2

ส 5.2  ม.2/1,2/2,2/3,2/4

• ลักษณะทางกายภาพ                     และสังคมของทวีปยุโรป                

และทวีปแอฟริกา

• ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม               

ของทวีปยุโรปและแอฟริกา

• ทรัพยากรธรรมชาติ                     และสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรป

และทวีปแอฟริกา

18

20

สอบระหว่างภาคเรียน

-

10

สอบปลายภาคเรียน

-

20

รวมตลอดปี

-

100

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

วิชา ส22101 สังคมศึกษา                             กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   ภาคเรียนที่ 1            เวลา  60  ชั่วโมง/ภาคเรียน     จำนวน  1.5  หน่วยกิต  

 

..............................................................................................

 

                ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน            การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน ความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน ความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์และมรดกของชาติ ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและ 

การจัดระเบียบสังคม พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง                  ตามที่กำหนด การปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

                ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ คุณค่าในความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สถานภาพ  บทบาท สิทธิเสรีภาพ หน้าที่ ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม กระบวนการ             ในการตรากฎหมาย ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองการปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน                        

                ศึกษา  ค้นคว้า  วิเคราะห์  นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคม               ของทวีปยุโรปและแอฟริกา

                โดยใช้กระบวนการอธิบาย การศึกษาค้นคว้า การสืบค้นข้อมูล บทบาทสมมติ การอภิปราย 

การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและตระหนักถึงการนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย

                นักเรียนยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย            อยู่อย่างพอเพียง  รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

 

รหัสตัวชี้วัด

                ส 1.1  ม.2/1,2/2,2/3,2/4,2/5,2/6,2/7

                ส 2.1  ม.2/1,2/2,2/3,2/4          ส 2.2  ม.2/1,2/2

                ส 5.1  ม.2/1,2/2          ส 5.2  ม.2/1,2/2,2/3,2/4

 

รวมทั้งหมด  19  ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หลักสูตร

พุทธศักราช 2551

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

วิชา ส22103 สังคมศึกษา

ภาคเรียนที่ 2     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนพิมายวิทยา

 

 

 

 

 

 

 

 

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

วิชา ส22103 สังคมศึกษา     ภาคเรียนที่ 2     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สาระที่ 1  ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน  ส 1.1  รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา

                             หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น  มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตาม   

                             หลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.2

7. อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขป       ของพระไตรปิฎก  หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ

w   โครงสร้าง และสาระสังเขป                          ของพระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก             และพระอภิธรรมปิฎก

9. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต                          เพื่อการเรียนรู้และดำเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ

  • พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ                       โยนิโสมนสิการ 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์

10. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต                   และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ                     หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ

w   สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา

w   รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์                       ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา

w   ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญา                            ตามหลักสติปัฎฐาน  เน้นอานาปานสติ

w   นำวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา                       ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

11.วิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดำรงตนอย่างเหมาะสมในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

  • การปฏิบัติตนตามหลักธรรม                                  (ตามสาระการเรียนรู้ ข้อ 8.)

 

 

 

สาระที่ 1  ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส  1.2  เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธำรงรักษาพระพุทธศาสนา           

                             หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

.2

1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล              ต่าง ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ                 ตามที่กำหนด

w     การเป็นลูกที่ดี ตามหลักทิศเบื้องหน้า                       ในทิศ 6

 

2. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามที่กำหนด

 

w     การต้อนรับ (ปฏิสันถาร)

w     มรรยาทของผู้เป็นแขก

w     ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธี ปฏิบัติต่อพระภิกษุ  การยืน  การให้ที่นั่ง  การเดินสวน               การสนทนา  การรับสิ่งของ

w     การแต่งกายไปวัด การแต่งกายไปงานมงคล  งานอวมงคล

3. วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธี                          และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

 

 

w     การทำบุญตักบาตร

w     การถวายภัตตาหารสิ่งของที่ควรถวายและสิ่งของต้องห้ามสำหรับพระภิกษุ

w     การถวายสังฆทาน   เครื่องสังฆทาน

w     การถวายผ้าอาบน้ำฝน

w     การจัดเครื่องไทยธรรม  เครื่องไทยทาน

w     การกรวดน้ำ

w     การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

.2

4. อธิบายคำสอนที่เกี่ยวเนื่องกับ             วันสำคัญทางศาสนา และปฏิบัติตน            ได้ถูกต้อง

 

 

w     หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่องใน                                        วันมาฆบูชา  วันวิสาขบูชา  วันอัฏฐมีบูชา   วันอาสาฬหบูชา

w     วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ

w     ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน                        ในวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา                              วันออกพรรษา  วันเทโวโรหณะ                

5. อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธีพิธีกรรมตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่น ๆ  เพื่อนำไปสู่การยอมรับและความเข้าใจ                               ซึ่งกันและกัน

w     ศาสนพิธี/พิธีกรรม แนวปฏิบัติ                             ของศาสนาอื่น ๆ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สาระที่ 3  เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1  เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค

                            การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ

                            หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง  เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุน    และการออม

w   ความหมายและความสำคัญของการลงทุนและการออมต่อระบบเศรษฐกิจ

w   การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุน ภาคครัวเรือน

w   ปัจจัยของการลงทุนและการออมคือ อัตราดอกเบี้ย รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ เช่น ค่าของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต

w   ปัญหาของการลงทุนและการออม                              ในสังคมไทย

2. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ

 

w   ความหมาย  ความสำคัญ และหลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ

w   สำรวจการผลิตสินค้าในท้องถิ่น  ว่ามีการผลิตอะไรบ้าง  ใช้วิธีการผลิตอย่างไร  มีปัญหาด้านใดบ้าง

w   มีการนำเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อ      การผลิตสินค้าและบริการ

w   นำหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้า

และบริการในท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ  สังคม  และสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.2

3. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

w   หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

w   สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

w   ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง              ในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

4. อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิ                   ของตนเองในฐานะผู้บริโภค

w   การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์                 ของผู้บริโภค

w   กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

w   การดำเนินกิจกรรมพิทักษ์สิทธิและผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผู้บริโภค

w   แนวทางการปกป้องสิทธิของผู้บริโภค

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

&